ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.ด่านขุนทด ….ปลูกผักไร้ดิน….

โรงเรียนด่านขุนทด
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.สมเด็จพิทยาคม
….ผักไร้ดิน….

โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.สมเด็จพิทยาคม
….ผักไร้ดิน….

โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.ด่านขุนทด
….ปลูกผักไร้ดิน….

ขอขอบคุณโรงเรียนด่านขุนทด
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

โครงการทุนการศึกษาฝรั่งเศส-ไทย ประจำปี 2022 สนับสนุนความร่วมมือทางวิชาการและการวิจัยระหว่างประเทศไทยและฝรั่งเศส

ประชาสัมพันธ์โครงการทุนการศึกษาฝรั่งเศส-ไทย ประจำปี 2022 (Franco-Thai Scholarship Program 2022) เพื่อสนับสนุนความร่วมมือทางวิชาการและการวิจัยระหว่างประเทศไทยและฝรั่งเศส โดยโครงการนี้สนับสนุนนักศึกษาไทยที่มีอายุต่ำกว่า 35 ปี ซึ่งมีความสนใจการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทหรือเอก ณ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศส

ทั้งนี้ ผู้สนใจสมัครรับทุนสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมและขั้นตอนการสมัครได้ที่เว็บไซต์ http://www.francothai-science.com/scholarships/ ตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565เผยแพร่ข่าว : นางสาวพรนภา สวัสดีกลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมโทรศัพท์ 0 2333 3700e-mail : pr@mhesi.go.thFacebook : @MHESIThailandTwiiter : @MHESIThailandCall Center โทร.1313

โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (Thai MOOC)

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เล็งเห็นความสำคัญที่จะสร้างให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการเรียนการสอนออนไลน์ในระบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOC) เพื่อให้เกิดการแบ่งปันทรัพยากรสื่อการเรียนรู้ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชาเกิดความร่วมมือกันในการพัฒนาและจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิด สำหรับมหาชนและร่วมกัน ในการพัฒนาระบบกลางในการจัดการเรียนการสอน กระบวนการวัดและประเมินผล มีการจัดเก็บฐานข้อมูลผู้เข้าเรียนและประวัติ และผลการเรียน จำนวนหน่วยกิตรายวิชาพร้อมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาไปสู่ความร่วมมือในการเรียนการสอนในหลักสูตรที่มีหน่วยกิต การลงทะเบียนเรียนรายวิชาข้ามสถาบันอุดมศึกษา การถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ฯลฯ

โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด (Thai-MOOC) ภายใต้โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ในแผนงานที่ 3 การสร้างสังคมคุณภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดทำโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย เพื่อเป็นระบบและศูนย์กลางการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนแห่งชาติ (Thai MOOC) เป็นสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศกลางเพื่อรองรับ “การศึกษาระบบเปิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต” (Lifelong Learning Space) โดยใช้รูปแบบของการเรียนการสอนผ่านแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ออนไลน์ หลากหลายรายวิชารองรับตามความต้องการของผู้เรียน รองรับการ Upskill และ Reskill ให้กับผู้เรียนได้เพิ่มทักษะความรู้ในการทำงาน และพัฒนาคนไทยทุกคนให้มีความพร้อมไปสู่ศตวรรษใหม่แห่งการเปลี่ยนแปลง

วัตถุประสงค์ Thai MOOC

1) การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในระบบเปิดที่สามารถรองรับผู้เรียนได้อย่างไม่จำกัดจำนวนที่มีระบบฐานข้อมูลผู้เรียน ประวัติการเรียนและหน่วยกิตสะสม (Credit Bank and credit transfer) พร้อมระบบการถ่ายโอนหน่วยกิต
2) การพัฒนามาตรฐานและแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน และการประกันคุณภาพการศึกษาระบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOC)
3) การสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและระหว่างมหาวิทยาลัยเพื่อการสร้างและหรือปรับปรุงสื่อรายวิชาให้เป็นลักษณะ MOOC และประสานความร่วมมือในการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันฯ
4) การพัฒนารายวิชา ประกอบด้วยสื่อการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ตามมาตรฐานคุณภาพและกระบวนการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOC)
5) การพัฒนาคลังข้อสอบเพื่อการวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชาในระบบ MOOCการเก็บข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนากระบวนการ และระบบการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากขึ้น

ขอเชิญผู้สนใจสมัครสมาชิกและเริ่มต้นการเรียนรู้ โดยสามารถเลือกวิชาที่ต้องการเรียนออนไลน์กว่า 500 หลักสูตร จากสถาบันการศึกษากว่า 120 สถาบัน ได้ตามต้องการ และนำการเรียนรู้ไปพัฒนาทักษะรอบด้านที่จำเป็นในชีวิต ได้ทางเว็บไซต์ http://thaimooc.org

สำหรับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน และองค์กรต่างๆ ที่ต้องการขอรับการสนับสนุนในด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ด้วยการขอใช้ระบบต่าง ๆ เช่น ระบบ Identity Provider, ระบบ MOOC Course Dirrectory, ระบบ Learning Management System , ระบบ e-Testing, ระบบ Credit Bank สามารถติดต่อได้ที่ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มา : โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม