โรงเรียนกมลาไสยคว้ารางวัลระดับชาติ รางวัลลูกโลกสีเขียว ผลงานการต่อยอดจากหลักสูตร CLC

การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาEco-School ที่สามารถเทียบโอนในรายวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม จากการต่อยอดของกลุ่มเยาวชนโรงเรียนกมลาไสย พัฒนาต่อยอดผืนป่าดงนามล ต.โคกสมบูรณ์ อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ ฟื้นฟูระบบนิเวศ สร้างฝายเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง ทำให้ผืนป่ามีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น นำโดยคุณครูกล่อมจิต ดอนภิรมย์ ครูที่ปรึกษาโครงการฯ คุณครูพวงลดา วรสาร หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณะคุณครูร่วมที่ปรึกษากลุ่มเยาวชนฯ คุณครูมณฑิรา สุเทวี คุณครูชฎาภรณ์ พรมคำ และคุณครูพนาวรรณ นิลโสม

  • ในครั้งนี้ นายคณาธิป บัวคำภู ตัวแทนกลุ่มเยาวชนสร้างป่าเปียกด้วยฝายสร้างรายได้สู่ชุมชน โรงเรียนกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งได้รับรางวัลประเภทกลุ่มเยาวชน ได้กล่าวแสดงความรู้สึกว่า รางวัลลูกโลกสีเขียว เป็นรางวัลที่ทรงคุณค่า เต็มเปี่ยมไปด้วยความภาคภูมิใจ รางวัลลูกโลกสีเขียวทำให้ได้ตระหนักว่า การที่เราทำเพื่อธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม แม้ว่าสิ่งที่ทำนั้น คนอื่นจะไม่เห็น แต่ก็ยังมีหน่วยงานเห็นสิ่งที่เราทำ “ต้องขอบคุณสถาบันลูกโลกสีเขียวนะครับที่ได้มอบรางวัลนี้ให้กับทุกคน ผมเชื่อว่า การที่จะได้รางวัลนี้มา ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องใช้ความทุ่มเท ความเสียสละ อุทิศแรงกายแรงใจ เต็มเปี่ยมไปด้วยทุกอย่างที่มาจากข้างในจริง ๆ ต้องเป็นผลงานที่ประจักษ์ สร้างสรรค์สังคม ผมขอยกย่อง เชิดชูเกียรติ ทุกผลงานที่ได้รับรางวัลในวันนี้ ขอยินดีกับทุกท่านด้วยครับ และต้องขอขอบคุณสถาบันลูกโลก ที่ได้สร้างสรรค์รางวัลนี้ขึ้น เพื่อที่จะยกย่อง เชิดชูเกียรติทุกคนที่ทำเพื่อสังคม ทำให้ทุกคนได้รู้ว่า คนทำดี ต้องได้ดี เมื่อทำเพื่อสังคม สิ่งที่ได้รับกลับมา ถึงวันนี้จะไม่ได้รับ แต่ภายภาคหน้า สิ่งที่เราทำ จะย้อนคืนสู่ตัวเราเอง ขอบคุณที่สร้างแรงบันดาลใจ ขอบคุณที่สร้างคุณค่า สร้างแรงบันดาลใจ ให้กับทุกคนครับ” นายคณาธิป กล่าวด้วยรอยยิ้มภาคภูมิใจ (อ้างอิงจาก : เชิดชูเกียรติคนไทยหัวใจรักษ์สิ่งแวดล้อม รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 21 ‘จุดพลังเปลี่ยนโลก’ (mgronline.com))

ต่อยอดหลักสูตรCLCโรงเรียนกมลาไสยสู่การนำเสนอผลงานระดับชาติ

🏆🏆ผลงานการต่อยอดจากรายวิชาโครงงานระบบอัตโนมัติที่ใช้ระบบInternet of Things ร่วมกับAI โดยศูนย์การเรียนรู้หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ โรงเรียนกมลาไสย ได้นำคณะครูและนักเรียนในโครงการส่งเสริมอัจฉริยภาพด้านเทคโนโลยีIoTและปัญญาประดิษฐ์ เข้าร่วมงานนำเสนอโครงงานวิจัยในระดับชาติ ในงาน ” การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2023 ครั้งที่ 5 นวัตกรรมและปัญญาประดิษฐ์เพื่อการศึกษาในยุคดิจิทัล” ในวันที่ 9 มิถุนายน 2566 ณ อาคารรักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมี รศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์ รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เป็นประธานในพิธีฯ ในครั้งนี้ได้มีนักเรียนโรงเรียนกมลาไสยได้นำเสนอผลงานด้านปัญญาประดิษฐ์และได้รับรางวัลBest จำนวน 5 โครงงาน ได้แก่

🛎 ระบบตรวจจับผู้ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ มีสมาชิกดังนี้

1.นางสาวธนัญชนก มั่งมา

2.นายอธิษฐ์ นาชัยเพิ่ม

3. นายกวีวัฒน์ กกค้างพลู

🛎 การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการคัดแยกขยะ มีสมาชิกดังนี้

1. นายพรเทพ ทักขีโน

2. นายอธิชาติ ศรีมงคล

3. นายกมลวิช ขันอาษา

🛎 การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ตรวจโรคในใบข้าว มีสมาชิกดังนี้

1. นางสาวจุฬาลักษณ์ ประกอบสุข

2. นางสาวสุวิมล ดอนหัวบ่อ

🛎 ระบบตรวจจับผู้ที่ใส่รองเท้าขึ้นบนอาคารด้วยปัญญาประดิษฐ์ มีสมาชิกดังนี้

1. นางสาวกันตา ภูทองหล่อ

2. นายปริณ โจทจันท์

3. นางสาวธีรัชชาภา ล้ำจุมจัง

🛎 การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการเช็คชื่อเข้าเรียน มีสมาชิกดังนี้

1. เด็กชายธวัชชัย ตรีศูนย์​

2. เด็กชายณัฐพงศ์ กางทา

3. เด็กชายรตน ศรีมุงคุล

🔥โดยมีคณะที่ปรึกษาหลักดังนี้ :

1. นายจตุรงค์ กมลเลิศ หัวหน้าศูนย์ศูนย์RAIL

2. นายพลกฤษ รินทรึก คณะกรรมการศูนย์RAIL

3. นางสาวอภิรดี สืบชมพู คณะกรรมการศูนย์RAIL

4. นางสาวศิวรินทร์ ตาละชีพ คณะกรรมการศูนย์RAIL

5. นายสิรภพ บุญสวัสดิ์ คณะกรรมการศูนย์RAIL

6.นางสาวพชรกร ภูภักดิ์ กรรมการและเลขานุการศูนย์RAIL

พืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

เก็บเห็ดจร้า

พืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ขอขอบคุณมหาวิทยลัยกาฬสินธุ์

ความรู้สร้างคุณค่า ภูมิปัญญาสร้างสังคม

#การผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง#พืชศาสตร์#มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์#นักนวัตกรสังคม#CLC

# มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอันดับ 1 ของประเทศภายในปี 2570

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

มุ่งมั่น พัฒนา จิตอาสา เชี่ยวชาญ

มหาวิทยาลัยกลุ่มพัฒนาท้องถิ่นชุมชน และชุมชนอื่น

เรียนทฤษฎีด้วยการลงมือปฏิบัติพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

การบูรณาการการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานราก (BCG) และชุมชนนวัตกรรมโดยใช้วิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์

รายวิชา AG-014-101 ฝึกงานพืชศาสตร์ 1

#การผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง#พืชศาสตร์#มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

#นักนวัตกรสังคม

# มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอันดับ 1 ของประเทศภายในปี 2570

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

มุ่งมั่น พัฒนา จิตอาสา เชียวชาญ

มหาวิทยาลัยกลุ่มพัฒนาท้องถิ่นชุมชน และชุมชนอื่น

เรียนทฤษฎีด้วยการลงมือปฏิบัติจนเกิดความเชี่ยวชาญ

เรียนทฤษฎีด้วยการลงมือปฏิบัติจนเกิดความเชี่ยวชาญ
สมรรถนะที่ได้… outstanding…
การสร้าง และพัฒนากำลังคนที่มีทักษะและสมรรถนะสูง มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ep1 ห้องเรียนพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสิธุ์ โรงเรียนกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

ขอขอบคุณมหาวิทยลัยกาฬสินธุ์
ความรู้สร้างคุณค่า ภูมิปัญญาสร้างสังคม
การผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง #พืชศาสตร์ #มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ #นักนวัตกรสังคม #CLC
มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอันดับ 1 ของประเทศภายในปี 2570

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
มุ่งมั่น พัฒนา จิตอาสา เชี่ยวชาญ
มหาวิทยาลัยกลุ่มพัฒนาท้องถิ่นชุมชน และชุมชนอื่น

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.ด่านขุนทด ….ปลูกผักไร้ดิน….

โรงเรียนด่านขุนทด
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.สมเด็จพิทยาคม
….ผักไร้ดิน….

โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.สมเด็จพิทยาคม
….ผักไร้ดิน….

โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ห้องเรียนพืชศาสตร์ มกส.ด่านขุนทด
….ปลูกผักไร้ดิน….

ขอขอบคุณโรงเรียนด่านขุนทด
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ; CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION) : CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ห้องเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โรงเรียนด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเทียบโอนหน่วยกิตหรือประสบการณ์เพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) และเป็นหลักสูตรสอดคล้องกับความจำเป็นตามบริบทของการพัฒนาพื้นที่ และตลาดแรงงาน
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สร้างคนดี มีงานทำ ชี้นำสังคม
CONTINUOUS AND LINKING CURRICULUM (EDUCATION): CLC มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์